Skip to main content

การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม (Cross-cultural communication)


BUU
เกี่ยวกับรายวิชา (About This Course)

รายวิชา การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม รายวิชานี้เนื้อหาเกี่ยวกับความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมการทำงานแบบอเมริกัน ญี่ปุ่น และจีน การปฏิบัติตัวในองค์กรต่างวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ โดยศึกษาเรื่องพื้นฐานทางวัฒนธรรม ทัศนคติเรื่องเวลา มารยาทธุรกิจ ลักษณะความสัมพันธ์ การประเมินค่าของการทำงาน โดยเนื้อหาประกอบด้วย

โดยเนื้อหาประกอบด้วย

บทที่ 1: บทนำ

  • 1.1 ความหมายของการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ตอนที่ 1
  • 1.2 ความหมายของการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ตอนที่ 2
  • 1.3 มิติทางวัฒนธรรม ตอนที่ 1
  • 1.4 มิติทางวัฒนธรรม ตอนที่ 2
  • 1.5 รูปแบบของการสื่อสารในวัฒนธรรมต่าง ๆ ตอนที่ 1
  • 1.6 รูปแบบของการสื่อสารในวัฒนธรรมต่าง ๆ ตอนที่ 2
  • 1.7 องค์กรต่างวัฒนธรรม (องค์กรข้ามชาติ)
  • 1.8 องค์กรต่างวัฒนธรรม ตอนที่ 1 องค์กรของชาวอเมริกัน
  • 1.9 องค์กรต่างวัฒนธรรม ตอนที่ 2 องค์กรของชาวญี่ปุ่น
  • 1.10 องค์กรต่างวัฒนธรรม ตอนที่ 3 องค์กรของชาวจีน
  • บทที่ 2: วัฒนธรรมการทำงานแบบอเมริกัน

  • 2.1 พื้นฐานทางวัฒนธรรมอเมริกัน พื้นฐานทางวัฒนธรรม
  • 2.2 วัฒนธรรมการทำงานแบบอเมริกัน ทัศนคติเรื่องเวลา
  • 2.3 วัฒนธรรมการทำงานแบบอเมริกัน มารยาททางธุรกิจ
  • 2.4 วัฒนธรรมการทำงานแบบอเมริกัน ลักษณะความสัมพันธ์
  • 2.5 วัฒนธรรมการทำงานแบบอเมริกัน ประสิทธิภาพในการทำงาน
  • 2.6 วัฒนธรรมการทำงานแบบอเมริกัน การประเมินค่าของการทำงาน
  • บทที่ 3: วัฒนธรรมการทำงานแบบญี่ปุ่น

  • 3.1 วัฒนธรรมการทำงานแบบญี่ปุ่น พื้นฐานทางวัฒนธรรม 1
  • 3.2 วัฒนธรรมการทำงานแบบญี่ปุ่น พื้นฐานทางวัฒนธรรม 2
  • 3.3 วัฒนธรรมการทำงานแบบญี่ปุ่น ทัศนคติเรื่องเวลา
  • 3.4 วัฒนธรรมการทำงานแบบญี่ปุ่น มารยาทธุรกิจ
  • 3.5 วัฒนธรรมการทำงานแบบญี่ปุ่น ลักษณะความสัมพันธ์
  • 3.6 วัฒนธรรมการทำงานแบบญี่ปุ่น ประสิทธิภาพในการทำงาน
  • 3.7 วัฒนธรรมการทำงานแบบญี่ปุ่น การประเมินค่าของการทำงาน
  • บทที่ 4: วัฒนธรรมการทำงานแบบจีน

  • 4.1 วัฒนธรรมการทำงานแบบจีน พื้นฐานทางวัฒนธรรม
  • 4.2 วัฒนธรรมการทำงานแบบจีน ทัศนคติเรื่องเวลา
  • 4.3 วัฒนธรรมการทำงานแบบจีน มารยาทธุรกิจ
  • 4.4 วัฒนธรรมการทำงานแบบจีน ลักษณะความสัมพันธ์
  • 4.5 วัฒนธรรมการทำงานแบบจีน ประสิทธิภาพในการทำงาน
  • 4.6 วัฒนธรรมการทำงานแบบจีน การประเมินค่าการทำงาน
  • บทที่ 5: บทสรุป

  • 5.1 บทสรุป 1 ประโยชน์ของการเรียนรู้วัฒนธรรมที่แตกต่าง
  • 5.2 บทสรุป 2 การประยุกต์ใช้ในการทำงาน
  • เกณฑ์การวัดและประเมินผล (Evaluation and Score Criteria)

    มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อยในแต่ละบทเรียน (75 คะแนน) และแบบทดสอบหลังเรียน (25 คะแนน) ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 70 ขึ้นไป จึงจะถือว่าผ่านและได้รับ Certificate of Completion ออนไลน์ได้

    ข้อแนะนำสำหรับการเรียน (Learning Advice)

  • 1. ผู้เรียนควรทำกิจกรรมแบบฝึกหัดและแบบทดสอบในรายวิชาให้ครบ
  • 2. ผู้เรียนควรทบทวนความเข้าใจเนื้อหาของแต่ละบทเรียนและทำกิจกรรมตามที่ผู้สอนมอบหมายตลอดจนทำแบบฝึกหัดหลังเรียนอย่างสม่ำเสมอ
  • 3. ผู้เรียนสามารถทำแบบทดสอบได้ข้อละ 2 ครั้งเท่านั้น
  • อาจารย์ผู้สอน (Course Lecturer)

    Course Staff Image #1
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นันท์ชญา มหาขันธ์
  • อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
  • ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
  • Enroll