Skip to main content

จริยธรรมการวิจัยขั้นต้นสำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา


BUU

About This Course

จรรยาวิชาชีพของนักวิจัย และแนวทางปฏิบัติ จรรยาวิชาชีพในการทำวิจัย และแนวทางปฏิบัติ แนวทางปฏิบัติของนักวิจัยต่อผู้อื่นและหน่วยงาน แนวทางปฏิบัติของบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย การประพฤติผิดจรรยาวิชาชีพวิจัย แนวทางการพิจารณาจำแนกประเภทประเภทงานวิจัยเพื่อขอรับการพิจารณาจริยธรรมการวิจัย ประเภทงานวิจัยที่จะต้องขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ หลักจริยธรรมสากลการวิจัยในมนุษย์เบื้องต้น ประเภทงานวิจัยที่จะต้องขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในสัตว์ หลักการสำคัญของการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในสัตว์ ประเภทงานวิจัยที่จะต้องขอรับการพิจารณาความปลอดภัยทางชีวภาพ หลักการสำคัญของการพิจารณาความปลอดภัยทางชีวภาพ

วัตถุประสงค์การเรียนรู้เชิงพฤติกรรม

LO1 : นิสิตเห็นความสำคัญของการมีจรรยาวิชาชีพของนักวิจัย
LO2 : นิสิตสามารถจำแนกประเภทของงานวิจัยเกี่ยวข้องกับจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ได้
LO3 : นิสิตสามารถจำแนกประเภทของงานวิจัยเกี่ยวข้องกับจริยธรรมการวิจัยในสัตว์ได้
LO4 : นิสิตสามารถจำแนกประเภทของงานวิจัยเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยทางชีวภาพได้

อาจารย์ผู้สอน (Course Lecturer)

Course Staff Image #2

รศ.ดร.วิทวัส แจ้งเอี่ยม

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
ประธานคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ชุดที่ 1

Course Staff Image #2

ผศ.ดร.เด่นชัย ปราบจันดี

เลขานุการคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ชุดที่ 2

Course Staff Image #2

อ.ดร.ณัฏฐ์ธรรมา น้ำฟ้า

เลขานุการคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ชุดที่ 4

Course Staff Image #2

อ.เจนวิทย์ นวลแสง

ประธานคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ชุดที่ 2

Course Staff Image #2

ผศ.ดร.ปรัชญา แก้วแก่น

ประธานคณะกรรมการกำกับดูแลการดำเนินการต่อสัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์

Course Staff Image #2

ผศ.ดร.นิรมล ธรรมวิริยสติ

ประธานคณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพ

Enroll